Friday, November 2, 2018

Network - Simulation Juniper Router ด้วย GNS3 และ VirtualBox

Network - Simulation Juniper Router ด้วย GNS3 และ VirtualBox


 สิ่งที่ต้องมี 

ติดตั้ง GNS3 และ Virtual Box ให้เรียบร้อย ก่อนนะครับ
การตั้งค่าจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนแรกปรับใน VirtuaBox และส่วนที่สอง ปรับใน GNS3
  1. ดาวน์โหลด Juniper Image แตกไฟล์ Juniper Image จะได้ไฟล์ตามรูปด้านล่าง ในตัวอย่างนี้เก็บไฟล์ไว้ที่ E:\Juniper Olive *ถ้าลิ้ง Juniper Image เสีย ลอง search หาดูใน google ก็ได้ครับ หาไม่ยาก
  2. ใช้ Virtual Box import appliance โดยเปิด Virtual Box ขึ้นมา ไปที่เมนู File > Import Appliance
  3. หา Juniper Image file  E:\Juniper Olive\JunOS Olive.ovf ที่แตกไฟล์ไว้ในขึ้นตอนที่ 1.
  4. ปรับแต่งนิดหน่อย เอา DVD กับ Sound Card ออก และคลิ๊กที่ Reinitialize the MAC address of all network card.
  5.  เมื่อ Import แล้ว จากนั้นก็ตั้งค่า Network Adapter ครับ โดยคลิกขาวที่ JunOS Olive ที่พึ่ง Import เข้าไป เลือก Setting
  6.  ปรับแต่ง Network Adapter โดยเลือก ที่ Network จากนั้นก็ปรับตามตัวอย่าง โดย Adapter 1, Adapter 2, Adapter 3 และ Adapter 4 ปรับเหมือนกันหมด ส่วน Adapter Type ถ้าไม่มีให้เลือก Inter PRO/1000 MT Desktop ตามตัวอย่าง ก็เลือกเป็น Paravirtualized Network ก็ได้ครับ
  7.  ปรับ System นิดหน่อย เอาไดรฟที่ไม่จำเป็นออก และ Enable I/O APIC
  8. เปลี่ยนชื่อจาก JunOS Olive เป็น vEX ละกัน จากนั้น กด OK ก็เป็นการเสร็จสิ้นการปรับ ใน VirtualBox สามารถปิดโปรแกรมออกไปได้เลยครับ
  9. จากนั้นก็ปรับใน GNS3 ครับ เปิด GNS3 ขึ้นมา ไปที่เมนู Edit > Preferrence
  10. เลือก VirtualBox VMs > New > VM list: เลือก vEX แล้วคลิก Use as linked base VM (experimental)
  11. ปรับแต่งอีกนิดหน่อยครับ คลิกที่ vEX ที่แท็บ Gerneral settings เปลี่ยน symbol ตามต้องการ คลิกที่ Enable APCI shutdown และ Start VM in headless mode เพิ่มด้วย

  12.  ปรับที่แท็บ Network ปรับให้เป็น Adapters: 4 ส่วน Type เลือก Inter PRO/1000 MT Desktop ตามตัวอย่าง ถ้าไม่มีก็เลือกเป็น Paravirtualized Network ก็ได้ครับ คลิกที่ Allow GNS3 to use any configure VirtualBox adapter จากนั้น OK ก็เป็นอันเรียบร้อยครับ
  13. ไปดูที่ GNS3 กัน คลิกที่ Icon ด้านซ้ายรูปจอคอม เราจะเป็น vEX เราพึ่งเพิ่มลงไป
  14. จากนั้นมาทดสอบกันหน่อย โดยผมจะต่อ Juniper vEX เข้ากับ Router Cisco ถ้าใครยังไม่มี Router Cisco ก็เอา vEX ต่อเข้ากับ vEX เลยก็ได้ แต่ตัวอย่างนี้ขอต่อเข้ากับ Cisco ละกันนะครับ และก็คอนฟิก ตามตัวอย่าง และก็รันเลย

  15. รอจน vEX boot เสร็จ จากนั้นก็จะเริ่มคอนฟิก interface ที่คอนฟิกได้คือ em0, em1, em2 และ em3 นะครับ
    login: rootroot@% cli
    root> edit root# set system root-authentication plain-text-password root# set interfaces em0 unit 0 family inet address 192.168.12.1/24 root# commit เช็คคอนฟิกและสถานะ interface
    root# show interfacesroot# run show interfaces terse 
  16. คอนฟิกที่ Cisco
    R1#configure terminal R1(config)#interface fastEthernet 0/0
    R1(config-if)#ip address 192.168.12.2 255.255.255.0
    R1(config-if)#no shutdown
    R1(config-if)#exit
    R1(config)#exit
    เช็คคอนฟิกและสถานะ interface
    R1#show running-config interface fastEthernet 0/0
    R1#show ip interface brief


  17. Ping test
    Juniper: root# run ping 192.168.12.2 
    Cisco: R1#ping 192.168.12.1
จบละครับ

No comments:

Post a Comment

การใช้งาน Secure crt เพื่อรัน Python-Script และ VBScript

   สำหรับใครที่ใช้งาน Secure CRT อยู่เป็นประจำและมีงานที่ต้องดึงข้อมูลโดยใช้ command line อยู่เป็นประจำหรือต้องดึงข้อมูลปริมาณมาก การใช้งาน ...