Wednesday, November 7, 2018

Network - การเชื่อมต่อระหว่าง Router Huawei กับ Juniper โดยใช้โปรแกรม eNSP กับ GNS3


Network - การเชื่อมต่อระหว่าง Router Huawei, Juniper และ Cisco โดยใช้โปรแกรม eNSP กับ GNS3


 ในเครือข่ายบางทีอาจมี Router มากกว่ายี่ห้อเดียว หรือบางทีก็มีแผน connect เข้ากับยี่ห้ออื่น หรือ อาจจะลองการทำงานบาง Protocol ว่าแต่ละยี่ห้อทำงานด้วยกันได้หรือไม่ การทดลองบนอุปกรณ์จริง อาจทำได้ยาก เพราะฉนั้นการซิม บน notebook เราเอง เป็นทางเลือกที่ดีไม่น้อย

สิ่งที่ต้องมี

ก่อนจะเริ่มทำ ลงโปรแกรมให้เรียบร้อยก่อนนะครับ
  1.  เริ่มต้นที่ Huawei ก่อนละกัน เปิดโปรแกรม eNSP ขึ้นมาครับ เลือก เป็น Router ลากลงมาที่ Topo ตามรูปเลยครับ
  2. ลาก Cloud ลงมา Clound จะเป็นตัวเชื่อมต่อเข้ากับ Network Adapter ในโน๊ตบุ๊คเรา ในตัวอย่างนี้จะให้เชื่อมต่อเข้ากับ Loopback Adapter นะครับ จะได้ไม่ไปกวนกัน adapter ตัวอื่น
  3.  จากนั้นจะ set cloud ให้เชื่อมต่อ กับ Loopback adapter โดยการดับเบิ้ลคลิ๊กที่รูป Cloud ในเครื่องผมทำไว้ 2 loopback คือ KM-loopback1 กับ KM-Loopback2 แต่ในตัวอย่างนี้ใช้ KM-Loopback1 นะครับ เลือก Binding info: KM-Looback1 จากนั้น คลิ๊ก Add
  4. Set clound อีกรอบ 1. Bindinginfo: UDP 2. คลิก Add 3. Local Port Num: 1 , Remote Port Num: 2 คลิกถูกที่ Two-way chanel กด add ตามรูปครับ แล้วปิดหน้าต่างได้เลย

  5. จากนั้นก็ Connect Router Huawei เข้ากับ Cloud แล้ว รันได้เลยครับ

  6. คอนฟิกที่ Huwei Router รอได้เลย
    <Huawei>system-view 
    [Huawei]interface Ethernet0/0/0
    [Huawei-Ethernet0/0/0]ip address 192.168.100.2 24
    [Huawei-Ethernet0/0/0]quit

    เช็คสถานะกับคอนฟิก
    ที่ inteface
    [Huawei]display current-configuration interface Ethernet 0/0/0
    [Huawei]display ip interface brief
  7. เปิด GNS3 สร้าง Project ใหม่ แล้วลาก vEX แล้ว Cloud ลงมาตามรูปเลยครับ
  8. connect vEX เข้ากับ Cloud โดยเลือก เป็น KM-Loopback1 แล้วก็ start vEX เลยครับ
  9. configure ที่ Juniper Router 
    login: root
    root@% cli
    root> edit 
    root# set system root-authentication plain-text-password 
    root# set interfaces em0 unit 0 family inet address 192.168.100.3/24 
    root# commit 
    เช็คคอนฟิกและสถานะ interface
    root# show interfaces
    root# run show interfaces terse
  10. Ping test ที่ Juniper 
  11. Ping test ที่ Huawei

Note* IP ที่ KM-Loopback1 ไม่จำเป็นต้องเซ็ตไว้ก็ได้ หรือจะเซ็ตเป็นคนละวงกับ Interface ของ Router ก็ได้ แต่ผมเซ็ตไว้เพื่อ ping test ระหว่าง Interface Router - KM-Loopback1 เฉยๆ 

จบละครับ 

แถมนิดหน่อย โดยจะ enable protocol OSPF เพื่อดูว่า Router 2 ตัวที่เราซิมจะเห็นกันผ่าน Protocol OSPF มั้ย

Configure ที่ Juniper และ แสดงสถานะ
root# set protocols ospf area 0 interface em0.0 
root# commit
root# show protocols ospf
root# run show ospf neighbor












Configure ที่ Huawei และ แสดงสถานะ
[Huawei]ospf 1 
[Huawei-ospf-1]area 0
[Huawei-ospf-1-area-0.0.0.0]quit
[Huawei-ospf-1]quit
[Huawei]interface Ethernet0/0/
[Huawei-Ethernet0/0/0]ospf enable 1 area 0
[Huawei-Ethernet0/0/0]quit
[Huawei]display ospf peer brief 
จบจริงๆ ครับพี่น้อง

No comments:

Post a Comment

การใช้งาน Secure crt เพื่อรัน Python-Script และ VBScript

   สำหรับใครที่ใช้งาน Secure CRT อยู่เป็นประจำและมีงานที่ต้องดึงข้อมูลโดยใช้ command line อยู่เป็นประจำหรือต้องดึงข้อมูลปริมาณมาก การใช้งาน ...